top of page

คำอำนวยพร 6 ตุลาคม 2564

Updated: Oct 11, 2021


** การรู้จักพอทำให้จิตใจเที่ยงตรง  ฝึกฝนร่างกาย  บริหารครอบครัว  ปกครองประเทศ  และทำให้ทั่วหล้าสงบสุขได้  ในชีวิตประจำวัน  มีเพียงผู้ที่รักษาความรู้จักพอไว้  ที่จะพอใจกับสามี  ภรรยา  ลูก ๆ  ชีวิต  การงาน  ผู้อื่น  และสังคมได้  มีเพียงรู้จักพอและพอใจ  จึงจะรักษาสภาวะจิตที่พึงพอใจและมีความสุขได้  มีเพียงผู้ที่รักษาสภาวะจิตเช่นนี้ไว้เท่านั้น  ที่จะใช้พลังจิตใจและความคิดในการสร้างสรรค์ความมั่งคั่งและความผาสุก  และบรรลุถึงสภาวะปกติสุขที่ "รู้จักพอจึงมั่งมี" ได้  รู้จักพอคือพลังที่ยิ่งใหญ่ที่สุดอย่างหนึ่ง


อรุณสวัสดิ์ * * *


ขอนำส่งการแบ่งปันเกี่ยวกับคัมภีร์ "เต้าเต๋อจิง" บทที่ 45 และคำอำนวยพรในเดือนแห่งการเกิดใหม่


[“ภาพแห่งความสำเร็จ” ทั้ง 3 ระดับ]


บทที่ 45 ภาพแห่งความสำเร็จ


[เนื้อความ]


สมบูรณ์เลิศคล้ายบกพร่อง แต่บทบาทนั้นมิเสื่อมสูญ เปี่ยมล้นคล้ายว่างเปล่า แต่มีบทบาทมิจบสิ้น ความเที่ยงตรงมากคล้ายคดงอ หลักแหลมมากคล้ายโง่งม มีคารมคมคายดุจซื่อ ๆ การเล่นกีฬาชนะความหนาว นิ่งชนะร้อนแรง สงบนิ่งเป็นวิถีที่ถูกต้องใช้ทั่วหล้า



ในคัมภีร์ “เต้าเต๋อจิง” ท่านเหลาจื่อมักอธิบายจักรวาลทัศน์ก่อน จากนั้นจึงอธิบายถึงทัศนะการปกครอง และชีวทัศน์ กล่าวคือ อธิบายฟ้าก่อนแล้วจึงอธิบายคน จากฟ้าไปสู่คน


ในบทที่ 42 ท่านเหลาจื่อกล่าวว่า “เต๋าให้กำเนิดหนึ่ง หนึ่งให้กำเนิดสอง สองให้กำเนิดสาม สามให้กำเนิดสรรพสิ่ง” เป็นการอธิบายว่า เต๋าคือพลังการสร้างสรรค์ชีวิตอย่างต่อเนื่อง ส่วนในบทนี้ เนื้อหาและรูปแบบตลอดจนความสัมพันธ์เชิงวิภาษระหว่างธาตุแท้กับปรากฏการณ์ที่ท่านเหลาจื่ออธิบาย กล่าวได้ว่ามีความต่อเนื่องจากบทที่ 42 เพียงแต่บทหนึ่งกล่าวถึง “เต๋า” ส่วนอีกบทหนึ่งกล่าวถึง “บุคลิก”


ในบทนี้ “ภาพแห่งความสำเร็จ” แบ่งออกเป็น 2 ตอน ตอนที่ 1 แบ่งการอธิบายออกเป็น 3 ประเด็น ดังนี้


- ประเด็นที่ 1 สมบูรณ์เลิศคล้ายบกพร่อง กลับสามารถให้กำเนิดโดยไม่หยุดยั้งและมีกำลังไม่มีวันหมดสิ้น


- ประเด็นที่ 2 ยืนหยัดในจุดที่ “มาก” และ “ส่วนทั้งหมด” จึงจะบรรลุถึงผลลัพธ์ที่ดีที่สุดได้


- ประเด็นที่ 3 กระแสหลักของ “5 มาก” ในบทนี้คือเต๋าเท่านั้น


อาจารย์จ้าวเมี่ยวกว่อ

วันที่ 6 ตุลาคม 2564

(เผยแพร่วันที่ 1340)

* * *


** 知足可以正心、修身、齐家、治国、平天下。在生活中,只有持知足的人,才能常满意于先生,满意

于太太,满意于孩子,满意于生活,满意于工作,满意于别人,满意于社会。只有知足满意,才能总保持心满意足的快乐心态。只有持这种心态的人,才会把心思和精力用到创造财富和创造快乐上,才会达到“知足者富”的常乐状态。知足是一种最强大的力量。

早安!* * *


06《成功之象》的三个层次

《道德经第45章分享暨新生月祝福》连载06


第四十五章 成功之象


【原文】


大成若缺,其用不弊。大盈若冲,其用不穷。大直若屈,大巧若拙,大辩若讷。躁胜寒,静胜热,清静为天下正。


【译文】


最大的圆满好像有所欠缺,但它的功效永不衰竭;最大的充盈好像虚空,但它的作用永无穷尽。最大的正直好像弯曲,最妙的机巧好像笨拙,最卓越的辩才好像木讷。阳动而躁,能战胜寒冷;阴止而静,能战胜燥热,清静是天下的正道。


大成若缺,其用不弊。大盈若冲,其用不穷。大直若屈,大巧若拙,大辩若讷。


《道德经》中,老子往往是先讲宇宙观,再讲治理观、人生观——也就是先讲天再讲人,由天入人。


在第四十二章中,老子说:“道生一,一生二,二生三,三生万物”,说明了道是持续创生的力量。而本章中,老子所讲述的内容与形式以及本质与现象之间的辩证关系,可以说与第四十二章是一脉相承的——只是一个讲的是“道”,而另一个则讲的是“人格”。


本章《成功之象》共分两段,第一段二十八个字,分为三个层次来阐述:


- 第一层次,大成若缺,反而能生生不息、永不衰竭;


- 第二层次,立足于“大”和“整体”才可能达到最好的效果;


- 第三层次,本章“五大”的主流只能是道。


赵妙果,2021年10月6日,第1340天

0 views0 comments