top of page

คำอำนวยพร 29 พฤศจิกายน 2564


** เต๋าอยู่ที่ไหน? การทำงาน ครอบครัว การดำเนินชีวิต การรับประทานอาหาร นอนหลับ ปฏิสัมพันธ์กับผู้คน  และเรื่องราวต่างๆ ที่เป็นรูปธรรม  ล้วนเป็นธรรมสถานของเราทั้งสิ้น  ธรรมสถานของเราจะติดตามเราตลอดเวลา  โดยไม่จำเป็นต้องออกไปแสวงหาจากภายนอก  สรรพสิ่งทั่วหล้าล้วนเป็นเต๋า  ในตัวทุกคนล้วนมีเต๋า เมื่อจิตใจของเราสอดคล้องกับเต๋า เราจะสามารถเข้าสู่มิติเดียวกับเต๋าได้  วิธีการเดียวที่เราจะบรรลุถึงระดับที่จิตเป็นหนึ่งเดียวกับเต๋า คือต้องทำให้ศักยภาพระดับสูงสุดของจิตวิญญาณแสดงบทบาทออกมาได้


อรุณสวัสดิ์ * * *


ขอนำส่งการแบ่งปันเกี่ยวกับคัมภีร์ "เต้าเต๋อจิง" บทที่ 46 และคำอำนวยพรในเดือนแห่งการเก็บเกี่ยว


[ระหว่างมีเต๋ากับไร้เต๋า คือการกุมระดับและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์]


คติธรรมบทที่ 46


15. รู้จักพอคือการอาศัย “ ‘มี’ สำรวจจุดเริ่มและสิ้นสุดได้” มามองเห็นขอบเขตการพัฒนาของสิ่ง ดังนั้น สามารถรู้หยุดได้เหมาะไม่มีภัยร้าย การรู้จักพอก็ต้องอาศัย “ ‘ไม่มี’ สำรวจลี้ลับเต๋าได้” มาทำความเข้าใจกฎของโลกและจักรวาลให้ลึกซึ้ง ด้วยเหตุนี้ จึงคล้อยตามสถานการณ์ได้


16. การที่คนเราไม่รู้จักพอ ส่วนมากเป็นเพราะมีความทะยานมากเกินความสามารถ ประหยัดเวลาที่จะเสียไปกับการ “ไม่รู้จักพอ” ไปยกระดับความสามารถในการฝึกปฏิบัติความรัก จึงจะเป็นวิถีที่ถูกต้อง เมื่อความทะยานอยากในส่วนลึกของจิตใจเป็นหนึ่งเดียวกับความต้องการทางภววิสัยแล้ว และสิ่งภายนอกที่ได้รับมีคุณค่าสอดคล้องกับตนเอง คนเราจึงจะพอใจได้อย่างแท้จริง


17. การรู้จักพอสามารถทำให้จิตใจมีความเที่ยงตรง ฝึกฝนร่างกาย ดูแลครอบครัว ปกครองประเทศ และทำให้ทั่วหล้าสงบสุขได้ มีเพียงผู้ที่รู้จักพอ จึงจะพอใจกับชีวิตความเป็นอยู่ได้... เพราะบรรดาอารมณ์และความรู้สึกเชิงบวกล้วนมาจากการปฏิบัติตามกฎของเต๋า และคนประเภทนี้จึงจะสามารถรวบรวมความคิดและกำลังวังชามาสร้างสรรค์ความมั่งคั่งและสัมผัสกับความผาสุกด้วยท่าทีที่พึงพอใจด้วยตนเอง และบรรลุถึงสภาวะที่รู้จักพอสุขนิรันดร์ ดังนั้น จึงกล่าวว่า การรู้จักพอมิใช่ภาวจิต แต่เป็นพลังที่เกรียงไกรต่างหาก


18. ในชีวิตของคนเรา ความต้องการคือสิ่งที่แน่นอน แต่ความทะยานอยากยากที่จะเติมเต็มได้ แม้คนเราจะนั่งอยู่บนกองเงินกองทอง แต่หากยังไม่รู้จักพอ เขาจะยังคงเป็น “คนจน” ตลอดจนยังอาจเป็นคนที่เป็นภัยต่อสังคม... มีเพียงหลังจากได้รับรู้ต่อความต้องการที่แท้จริงอย่างมีสติแล้ว คนเราจึงจะควบคุมความทะยานอยากที่ไม่เป็นประโยชน์ต่อชีวิตเหล่านั้นได้ รักษาโลกทางจิตวิญญาณที่ทำให้คนเราพึงพอใจไว้เสมอ จึงถือเป็นการรู้จักพอจะมีพอเพียงนิรันดร์แล้ว


19. “สวรรค์จะช่วยเหลือ ด้วยรักเมตตาปกป้องไว้” หมายถึง สิ่งล้ำค่าที่สุดของมนุษย์คือความเมตตากรุณา ผู้ที่มีจิตเมตตากรุณาจึงสามารถระงับความทะยานอยากและมีความวิริยะก้าวหน้าอย่างกล้าหาญได้ เนื่องจากแบบฝึกหัดที่ใหญ่ที่สุดของชีวิตเราคือ การทำให้ผู้อื่นและสรรพสิ่งทั่วหล้าดียิ่งขึ้น สามารถเป็นผู้ที่มีความดีงามและเมตตากรุณาได้ คือของขวัญที่ยิ่งใหญ่ที่สุดจากฟ้าดินแล้ว


20. ระหว่างมีเต๋ากับไร้เต๋า ที่สำคัญหมายถึง ระดับการกุมและปฏิบัติตามกฎเกณฑ์ของมนุษย์ คำว่า “เต๋า” นี้ยังหมายถึง วัฒนธรรมของมนุษย์ เมื่อวัฒนธรรมเสื่อมถอยลง สังคมจะวุ่นวาย ความคิดที่ผิดย่อมแสดงให้เห็นถึงโลกที่อยู่ผิดตำแหน่ง ดังนั้น วัฒนธรรมจึงเป็นสมบัติของชาติ


21. ทั่วหล้าสงบสุข ชีวิตผู้คนปลอดภัย คือความมั่งคั่ง เต๋า และคุณธรรมที่ยิ่งใหญ่ที่สุดของเรา


อาจารย์จ้าวเมี่ยวกว่อ

วันที่ 29 พฤศจิกายน 2564

(เผยแพร่วันที่ 1394)

* * *


** 道在哪里?工作、家庭、生活就是我们的道场;吃饭、睡觉、劳动、与人交往等所有具体事务中,都是我们的道场。您的道场永远是跟随着您的,您无需到外面去寻找道场。天下万物都是道,每个人身上都有道。当我们的心与道相合之时,您就能进入道的维度。您要达到心与道合一的层面,唯一的方法必须让心灵的最高层次功能发挥出来。

早安!* * *


29有道与无道,是指掌握与遵循规律的水平

《道德经第46章分享暨收获月祝福》连载29


第四十六章 悟道心得


十五、知足是通过“常有欲以观其缴”看到了事物发展的边界,所以能知止不殆;知足也是通过“常无欲以观其妙”领悟了天地宇宙的规律,因此能顺势而为。


十六、人不知足,主要是因为欲望超过了能力。省下那些浪费在“不知足”上的时间,去提升自己践行爱的能力,这才是正道——当内心欲望与客观需求一致、外在所得与自我价值相符时,人才会真正满足。


十七、知足可以正心、修身、齐家、治国、平天下。只有知足的人,才能常满意于生活——因为,所有正面的情绪和感受都来自于遵循大道法则。而这样的人才有能力以心满意足的享受状态,把心思和精力聚焦到创造财富和体验幸福上,达到知足常乐状态。所以说,知足不是心态,而是一种强大的力量!


十八、人生中,需要是固定的,欲望是难填的。即使一个人坐拥金山银山,但如果还是不知满足,那他依旧是一个“贫穷的人”,甚至还可能为祸人间……只有对实际需要有一个清醒的认识后,人才会去克制那些于生命无益的欲望,常守可以令人满足的心灵世界,这就是知足常足了。


十九、天将救之,以慈卫之——人类最宝贵的东西就是慈悲。有慈悲心的人,才能收敛欲望、勇猛精进,因为人生最大的功课是让别人更好、让天地间的万物更好!能成为一个善良的人,本身就是天地对我们最大的馈赠。


二十、有道与无道,主要是指人类掌握与遵循规律的水平。这个“道”也指人文文化,当文化衰弱了,社会就会变乱,错误的思想必将呈现错位的世界,所以文化也是国土。


二十一、天下太平、人生平安,就是我们最大的富、最大的道、最大的德!


赵妙果,2021年11月29日,第1394天

1 view0 comments
bottom of page